ThPrsMeeting 2021

Linked P0182

Major Breakthrough towards improve Biocompatibility (Supported by Motiva)

  • การศึกษาเกี่ยวกับ Shell of breast ที่ MIT – lab of Dr. Robert Langer
    • ทำไมมี Capsular contracture , ALCL
    • 4.51/51.36

S5 : Reconstructive Microsurgery and Lymphatic Surgery I

Facial Paralysis Clinic , the Past , Present and Future

  • Supasid Jirawatnotai .MD

Bottoming Out : Defining the Problem , Risk Factors & Correction

  • ควรถามการรับประกันของถุงนมทุกครั้ง เพราะแต่ละยีห้อ มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย และบางครั้งใน internet และ sale อาจจะไม่ตรงกัน

How to Start 3D Printing Lab for Medical Service and Education

อ.ธนะสิทธิ์

  • เครื่องมือ
    • FDM – ใช้เยอะสุด , material ถูกสุด
      • ปี 63 อ.ซื้อ 3D Printer 40000 บาท
    • SLA ~ ราคายังสูง เกือบ 200000 บาท
    • DLP ~ ราคา 40000 บาท
  • Software มีราคาไม่แพง , มี 3 แบบ
    • 3D Slicer
  • ที่รพ.ชลบุรี – Periorbital Implant PDMA -> Silicone แบบ medical grade , จ้างบ.ข้างนอกทำ
  • ใช้แผล scar contracture ที่จมูก
  • ทำหุ่นจำลองฝึกการผ่าตัดเสมือนจริง
3 Program ที่ใช้ใน 3D printing for reconstruction อ.ธนะสิทธิ์แนะนำ
Reconstruction of occiput ได้ด้วย
Scar ที่จมูก ถ้าใช้ 3D Print จะช่วยได้ดีมากขึ้น ไม่ต้องทำ reoperate บ่อยๆด้วย

3D Printing Surgical Planning for Reconstruction in Phramonkutklao Hospital

อ.Nuttahpong

  • เอารูปมาใส่ใน program Mashmixer , ระบายสีได้
    • Mashmixer
    • reconstruction base skull
    • template ที่ได้ เล็กกว่าจริง เพราะ tumor ตัดเยอะกว่ามาก , ปรับใน intraoperate
ใช้โปรแกรม 3D Slicer มาวาดรูป Tumor ที่ต้องการตัดออกก่อน พร้อมทำ template
ตัด tumor base skull ร่วมกับ neuroSx แล้วทำ 3D Printing
  • Fx Clavicle , ทำ 3D plate -> Mashmixer , ใช้ Program mirror
    • ทำให้ไม่ต้องเปิดแผลกว่า เพราะใช้ pre-bend plate , จัดbone ให้เข้ากับ plate
  • ปัญหาในการใช้ใน CA
    • อาจจะไม่เปะในแง่เข้ารูปพอดี เพราะ tumor มักจะตัดเยอะกว่า
    • maxillomandibular relation in midline disease
    • take time – preop

Computer Assisted Recontructive Surgery Ramathibodi Experience

  • บริษัท Meticuly – จุฬา , อ.Kasama Modulator
  • Terminology
    • CAD/CAM – Computer-Aided
    • PSI – Patient Specific Implant
    • 3D Printing Implant
    • CAS – Computer-Assisted Surgery
  • ตั้งแต่ 2005 Hanasono เริ่มนำ 3D มาใช้ ในราคาที่ไม่แพง
    • ใน maxillofacial ใช้เยอะ
    • ในด้านsurgical guide
  • 3D Technology
    • FDM
    • SLM
    • 3D Printing Titanium มีทำใน Thai <- Meticuly
    • PRS ปท CAD/CAM กับ conventional – สรุปว่า reduce operative time ชมกว่า , reduce ischemic time
ใช้ 3D , pre-bend template มาปรับได้ดีกว่าสมัยก่อน
เอา 3D Print มาใช้ surgical guide เยอะ เพราะไม่ต้อง prove อะไรเยอะ , แต่ตอนหลังมาทำ specific implant จะยิ่งได้ประโยชน์มากขึ้น
Maxillofacial surgery ใช้ค่อนข้างเยอะ
  • Skull Reconstruction
    • Meningioma of skull
  • Mandible reconstruction
    • ปท Fibular free flap reconstruction , มี PRS Systemic Review and Meta-Analysis
    • การใช้ CAS ได้ accuracy ดีขึ้น
ลองให้บริษัททำ ตั้งแต่ Design 1 -> 2 -> 3 ให้ทางวิศวะปรับได้ตามที่เราต้องการ เพื่อให้ได้ Mandibular arch ดีขึ้น
ดู mandibular arch ใน design 3 จะสวยและเข้ารู้มาก

Personal Data Protection Act (PDPA)

Passakorn .MD , Anesthesiology , Chiang Mai University

  • ละเมิดสิทธิคนอื่น
  • พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562
  • ทั้งรพ และคลินิก ต้องระวังการละเมิดสิทธิ
    • ใบสมัครงาน , เราจะจัดการการข้อมูลอย่างไร
      • ทั้งกรณีที่รับทำงาน , ไม่ได้รับทำงาน , หรือ ตอนลาออกแล้ว
    • HD ห้ามเอาไปเผยแพร่ ตอนเอาคอมพิวเตอร์ไปซ่อม
    • ถ่ายรูปทั่วไป แต่ลงใน page องค์กร แต่ติดคนอื่นด้วย
  • ในขณะที่ปัจจุบันเป็น Data driven , Data ยิ่งสำคัญ แต่ก็ยิ่งต้องป้องกัน
  • กม มาจาก
    • Asean Framework on Personal Data Protection
    • GDPR -General Data Protection Regulation
  • PDPA เริ่มประกาศใช้ไปบางส่วนแล้ว
    • คนไข้อาจจะถามว่า ข้อมูลถูก process ไปอย่างไรบ้าง
    • อาจจะขอ copy ได้
    • เก็บอย่างไร
    • secure พอไหม ? มี firewall ป่าว ?
    • สร้างความตระหนักให้กับคนในองค์กรอย่างไร
  • Personal Data (ไม่รวมคนตาย)
    1. ข้อมูลลบุคคลทั่วไป eg ชื่อ ที่อยู่ , เบอร์โทร
    2. บุคคลที่อ่อนไหว eg เชื้อชาติ, ความพิการ , สภาพแรงการ , biometric
      • หรือ data ที่มีผลกับ discriminate
      • email ? ยังไม่แน่ว่าอยู่ใน 1,2
      • เลขที่เป็นทางการ เช่นเลขโรงพยาบาล ไม่ถือว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคล
  • ใบนัดตรวจ – รพ.จิตเวช ต้องระวัง
  • ขอบเขตบังคับ PDPA
    • บ. อยู่นอกหรือ ในประเทศไทย
    • ถ้าบ.นอกประเทศไทย แต่มีข้อมูลหรือผลกับในประเทศ ก็ใช้กม นี้ได้
  • หลักการคุ้มครองข้อมูล
    • Lawfulness , fairness , Transparency
    • Purpose Limitation – ใบ consent มีประโยชน์เพื่อการรักษา , แต่เมื่อผ่านไป 5ปี , จะเอาข้อมูลมาวิจัย , ต้องโทรไปขอจาก คนไข้ก่อน
    • Data Minimization – เอาเท่าที่จำเป็น
    • Accuracy eg จบ resident ไปแล้ว ก็ต้อง update ข้อมูล
    • Storage Limitation มาสมัครงาน แต่ไม่รับ ก็ต้องทำลาย
    • Integrity & Confidentiality – เห็น OPD วางเกลื้อนบนโต๊ะ
  • ทำเพื่ออะไรบ้าง Lawful Basis
    • consent คือการให้ความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ที่เก็บรวบรวม
      • ห้ามบังคับ
      • ยินยอมเท่าที่จำเป็น
      • ทำโดยชัดเจัน หรือผ่านทาง electronic ได้
      • สามารถถอดถอนได้
      • แยกเป็นแต่ละรายการ และห้ามติ๊กถูกไว้ก่อน
      • แบ่งเป็นแบบปกติ , Explicit consent
        • สปา ถาม skin type
        • ต้องบอกด้วยว่าเอาไปทำอะไร
    • contract -เพื่อทำตามสัญญา
    • Legal obligations – ปฎิบัติตามที่ data controller ต้องการ
      • เช่น ประกันสังคม ต้องการทราบรายได้ ลูกจ้าง
    • vital interest – ป้องกันโรคระบาด
      • ใช้กรณีฉุกเฉินถึงชีวิต
    • public task – เช่นสถิติแห่งชาติ ต้องการข้อมูล
    • Legitimate interest – ฐานชอบธรรม
      • ใบแจ้งหนี้มาถึง ไม่จ่าย , ต้องส่งข้อมูลไปให้ ศูนย์เก็บข้อมูล
      • CCTV – ทำเพื่อรักษาความปลอดภัย อาจจะแปะป้าย
    • เอกสารทาง history
  • ข้อยกเว้นการใช้บังคับ
    • เก็บรวบรวม เพื่อกิจกรรมในครอบครัว , ย่าโพสรูปหลาน , ศาลบอกให้ลบรูป โดยยบอกว่าไม่ได้เป็นประโยชน์ในครอบครัว
      • และอาจจะทำให้รูปหลุดไปได้
      • แม้ว่า Facebook เป็นพื้นที่ของเรา แต่เอารูปคนอื่นมาลงไม่ได้
    • หน่วยงานรัฐมีหน้าที่รักษาความมั่นคง
    • กิจการสื่อมวลชน
    • สส สว
    • การพิจารณาของศาล
ด้านขวา มีติ๊กถูกไว้ก่อน ถือว่าใช้ไม่ได้
พ.ร.บ. PDPA เกี่ยวกับ 4 คน
  • เจ้าของข้อมูล – มีสิทธิแจ้งให้ทราบ- เราต้องแจ้งคนไข้ว่าเก็บอะไรบ้าง และวิธีดูแลอย่างไร , ถ้าต้องการลบข้อมูล ต้องติดต่อใคร
    • เพิกถอนความยินยอม – เข้าใจง่าย ทำงาน ไม่ซับซ้อน
    • การเข้าถึง – ทำภายใน 30 วัน
      • แต่บางกรณีอาจจะคนไข้หัวหมอ มาขอทุก 3 วัน , อาจจะบอกศาล ไม่ให้ก็ได้ ม.39
      • ดูการเดินทางของข้อมูล
    • ลบข้อมูล
    • ห้ามมิให้ประมวล
  • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล Data Controller
    • เช่น คณะแพทย์ มหาวิทยาลัย
    • ต้องแจ้งวัตถุประสงค์ในการเก็บข้อมูล
    • ไม่ได้บอกให้ตั้ง firewall หลายบาท, ขึ้นกับข้อมูลที่เก็บ เช่นถ้า รพ ใหญ่ๆ ก็ต้องลงทุนเยอะ
    • ไม่ให้คนอื่นเข้ามาใช้ข้อมูลโดยมิชอบ
    • แจ้งผู้ควบคุมข้อมูล กรณีมีผู้เข้ามา
    • มาตราการรักษาความปลอดภัย
      • ตอบ 3 ด้าน
  • ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล Data Processor
    • เราจ้างคนนอกมาทำ
    • เช่นจ้างบ.เก็บข้อมูล OPD
  • DPO – เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล – ไม่ควรเป็นคนในองค์กร
    • ประสานงาน กับสนง
    • ให้คำแนะนำ Data Controller
บทลงโทษ
  • 3 แบบ
    • แพ่ง – 3 ปี
      • ไม่เกิน 2เท่าของสินไหมทดแทนแท้จริง
    • อาญา จำคุก 6เดือน – 1ปี ~ ข้อมูลแบบ sensitive อาจจะโดนอาญา
      • 50000 – 1,00,000
    • ความรับผิดทางปกครอง
  • ยุโรป 20 million euro
    • Amazon 30,000 ล้านบาท
  • การเก็บข้อมูลคนไข้ เช่น ชาร์ตคนไข้
    • ต้องคว่ำชาร์ต
    • ทำลาย waste paper – ฉีกไม่พอ
      • การใช้ Fax – ระวังลืมต้นฉบับไว้ที่เครื่อง
      • หรืออาจจะเก็บข้อมูลไว้ในเครื่อง
    • Lack of speech privacy – คุยกันในลิฟต์
    • Absence of audit trails – ต้อง track การเดินทางข้อมูลได้
    • อบรมให้คนในองค์กร – ระวัง fishing email
    • data retention – เก็บไว้กี่ปี
  • ร้องเรียนไปที่ สคส สำนักงานควบคุมสิทธิ
  • ทุกรูปที่ลงในประชุมหรือ ส่ง Research ต้องมี consent

Implant Challenge : Biologic ADM vs Synthetic Mesh ?

อ.บัว

S16 – Difficult Blepharoplasty

  • Sucken eyeball เยอะ ,อายุ 46ปี , มี ptosis ด้วย และมี deep sucken eyeball
    • วัด VA, MRD1, Dominant eye
    • แบ่งเป็น 2 surgery
      • แก้ ptosis -> แก้ Levator – มี dehiscend or degenerative ?
      • เติม fat หรือไม่ หลัง 1-2 เดือน
      • ดึง septal fat ด้าน temporal มาเติมได้นิดหนึ่ง
      • คนนี้ที่มี deep globe , fatไม่ได้น้อย แต่หลบไปอยู่ orbital apex – Relu phenomenon
    • ใช้ buccal fat, แยก set ผ่าตัด , fat ล้าง normal saline ,แต่ระวัง infection
      • ใช้ fat สะดือดีกว่า
      • เอาออกมา , ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ , ต้องการให้ fat graft take แบบ Uniform
        • harvest ได้ชิ้นใหญ่ 3*3 ซม สำหรับ 2 ข้าง
        • วาง suborbicularis oculi m เหนือ septum <- ชั้นนี้มี vascularity ดี
      • ถ้ามี lower eyelid ก็เอา fat ตรงนั้นมาได้
  • อ. vimon เติม fat ก่อน แล้วค่อยดู muscle ภายหลัง
    • แก้ sucken ก่อน แล้ว Ptosis ดูดีขึ้น
    • ใช้ buccal fat – ไม่เคย infect
      • เอามาเป็นก้อน ค่อนข้างใหญ่ , แต่จะมีส่วนที่ take and not take
        • เปิดและสอดเข้าไปใน septum
      • ถ้าทำแบบดูดไขมัน จะค่อนข้างยากที่จะทำให้มันกระจาย
  • น่าจะแก้ ptosis ก่อน แล้วค่อยเพิ่ม volume
  • orbital septum เกาะสูง
  • รู้ได้อย่างว่าเป็น levator dehiscend – ลองให้ลืมตา แล้วดูว่าแรงดึงอยู่สูงป่าว?
    • moderate degree – Rx Levator plication
    • เปิด skin ระวัง โดน aponeurosis เลย -> เพราะ orbital septum เกาะสูง
  • fat graft อ.ใช้ abdomen , pfinen stein , fat ไม่เป็นก้อนใหญ่ๆ , หรือไม่ก็ mobilized fat
  • mobilized fat from central / temporal
  • ระวัง
  • 16.03

Published by Dr.Attaporn

Doctor , Plastic & Cosmetic Surgeon

สอบถาม

%d bloggers like this: