- ร.ศ. พ.ญ. กัญญา คำวิไลศักดิ์
- Lower peripheral perfusion – ก่อนจะเพิ่ม iv fluid
- ให้ทำ preload monitoring
- ดูว่าเป็น responder หรือไม่
- probe Sat ยีห้อที่วัด PVI ได้
- จะดูว่ากรณีไหน responsder , วัดตั้งแต่ที่ pt ยังมี volume อยู่ และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง จะบอกได้
- ถ้ามี arrhythmia อาจจะตอ้งทำ end-expire occlusion
- สรุปการทำ preload monitoring
- EAdyn
- สรุป preload monitoring – เป็น main ใน perioperative volumic evaluation แต่ก็ยังมี limit
- peripheral perfusion index- เป็น real time intraop perfusion
- คนไข้แต่ละคน มีการให้ fluid ไม่เท่ากันในแต่ละการผ่าตัด
- ปัจจัยสำคัญ
- ผ่าตัดอะไร
- ตามดู PO บ่อยๆ จะบอกได้
อ.นพ.ธรรมพร Periop Oliguria , Acute Kidney injury and renal resuscitation
- surgery ก็ทำให้เกิด DAM สารที่ damage
- AKI เป็น just clinical syndrome ไม่ใช่ disease
- cr -ถือว่าเป็น late marker
- GFI ลดลงไป 15% แล้ว จึงทำให้ cr ลดลง
- Urine output ก็ยังมาทีหลัง
- NE เป็น 1st line
- Character of AKI biomaker – test ตรวจได้ที่จุฬา
Nutritional Support after Resuscitation
- ศ.พญ. สุณีรัตน์ คงเสรีพงศ์
- propofol เป็น 10% fat
- fish oil ดีสุด -> รองมาเป็น olive oil -> แย่สุดคือ soy bean oil
- soy bean oil -มี proinflam agent
- Complication of lipid emulsion
- คนไข้ที่มี fungal infection – ถ้าจะให้ fat ให้ระวังด้วย ,ทั้งระหว่างขาขึ้นและขาลงของ fat
- สรุปว่า fungus ใช้ fat ได้ (ถ้าไม่ให้ จะได้แค่น้ำตาลและ protein ) , แต่ต้องระวัง
- infection มักจะเกิดจาก aseptic technique
- เช่นแขวนถุงไว้นานเกิน 24 ชม
- covid ใช้ fish oil ได้(ดีด้วย เพราะป้องกัน thromboembolism)
- ถ้ามี fish oil ไม่เกิน 25% ไม่ต้องกลัวเรื่อง bleeding
- คนไข้ที่มี fungal infection – ถ้าจะให้ fat ให้ระวังด้วย ,ทั้งระหว่างขาขึ้นและขาลงของ fat
- TPN – tip ควรอยู่ใกล้ๆ heart, – tip atrium
- ควรใส่ทุกอย่างใน 1 ถุง
- ป้องกัน infection , และถูกด้วย
- micronutrient – ให้คิดถึงคนที่ป่วยนานๆ
- เช่น vit D – ช่วยใน sepsis ด้วย
- glutamine – ไม่ดีใน sepsis
- แต่ burn – ok
- Monitor nutrition ในICU
- muscle mass, exercise
- peripheral -ระวัง ..
- ทำงานร่วม nephro
- on ECMO ใช้ TPN ได้ แต่ต้องระวัง
- และระวัง enteral ด้วย เพราะมักจะท้องอืด บางทีให้เร็วไป จะเป็นข้อเสีย
Perioperative Respiratory support for Maximum support
อ.สัฐฐิติ – นพ.ศรัญญู
- การตั้งเครื่องช่วยหายใจ ไม่ให้เกิด complication
Perioperative COVID-19 Resuscitation
- รศ.พญ.อรอุมา
- อ.พญ.หทัยระวี
- case severe -> cytokine storm
- D-dimer สูงขึ้น 3-4 เท่า
- IL-2r, IL-6 สูงขึ้นมาก
- อายุมาก 60 , 68 yr , หรือมีโรคร่วม
- ARDS
- AKI 15%
- macro/microvascular thrombosis เยอะ <- PE , AMI
- Sever – prone ventilation 12-16 hr/day
- ไม่ใช่ incremental PEEP
- ให้ phamacologic VTV prophylactic <- strong
Long COVID-19
Intraoperative Cardiac Arrest & Advanced in Post Cardiac Arrest Care
- ผศ.พญ.ปรัชญ์วิไล นุชประมูล
- non-cardiac 1/10000
- emergency , สูงอายุ เกิดได้มากขึ้น
- arrest intraop ก็ยัง survive(30%) มากกว่า emergency
- Predictive
- GA
- Sx
- Physical status
- sepsis
- cardiac arrest ใน prone position
- air embolism – neuroSx
- CPR ใน prone position
- จริงๆยังมีข้อมูลมาก แต่การจะจัดท่า supine จะยากกว่า
- check ETT
- Ventilator connect
- Anesthetic drug ok
- Surgical consideration
- ให้ remove eliminate surgical cause
- ดูว่า chest compression ว่าได้ effective หรือไม่
- ถ้าไม่ได้ ก็ให้ supine
cardiac arrest ใน pregnancy
- prone hypoxia <- ต้อง control ดี
- แทง iv ให้อยู่ above diaphragm
- avoid excessive hyperventilation
หลัง Cardiac Arrest
- EGK 12 leads
- ดูว่าต้องทำ cardiac intervention หรือไม่
- ถ้าสงสัยจาก heart -> ST- elevation ให้ทำ coronary angiography
- กรณีมี seizure – ให้ Monitor seizure และ Rx ด้วย
- non-convulsive seizure <- Dx ได้จาก EEG
- ไม่ recommend seizure prophylacsis
- TTM
- ROSC – ดู Hypothermia
- keep 32-34*
Perioperative Cerebral Resuscitation 2021
อ.พญ.มนัสนันท์
- หลังดมยาผ่าตัด เกิด POCD postoperative cognitive
- โดยเฉพาะในคนสูงอายุ
- ป้องกันโดยให้ O2 ไปสู่ tiss ให้ดี
- IOH
- Ideal BP แต่ละคนอาจจะต่างกัน
- Processed EEG monitoring
- ลด PO complication ลด burst suppression
- ลด cognitive decline
- NIRS – Near-Infrared Spectroscopy
- ได้ Cerebral O2 ซ้ายและขวา
- คนไข้สูงอายุ อาจจะทำ Delirium Screening